โปรตอน (โครงการดาวเทียม)
โปรตอน (โครงการดาวเทียม)

โปรตอน (โครงการดาวเทียม)

โปรตอน (รัสเซีย: Протон, อักษรโรมัน: Proton ) เป็นดาวเทียมตรวจจับรังสีคอสมิกและอนุภาคมูลฐาน สี่ดวงของสหภาพโซเวียต เข้าสู่วงโคจรในปี พ.ศ. 2508–2511 โดยสามดวงแรกส่งโดยจรวดทดสอบ УР-500 (อักษรโรมัน: UR-500 ) ซึ่งเป็นขีปนาวุธข้ามทวีป (ICBM) และอีกหนึ่งดวงส่งโดยจรวด Протон-К (อักษรโรมัน: Proton-K ) ดาวเทียมทั้งสี่ดวงทำภารกิจสำเร็จ โดยดวงสุดท้ายกลับเข้าสู่ชั้นบรรยากาศของโลกในปี พ.ศ. 2512

โปรตอน (โครงการดาวเทียม)

ระยะใกล้สุด
  • โปรตอน 1: 183 กิโลเมตร (114 ไมล์)
  • โปรตอน 2: 189 กิโลเมตร (117 ไมล์)
  • โปรตอน 3: 185 กิโลเมตร (115 ไมล์)
  • โปรตอน 4: 248 กิโลเมตร (154 ไมล์)
ผู้ผลิต ОКБ-52 [en]
อินคลิเนชั่น 63.5° (1–3), 31.5° (4)
มวลขณะส่งยาน
  • 12,200 กิโลกรัม (26,900 ปอนด์) (โปรตอน 1)
  • 12,200 กิโลกรัม (26,900 ปอนด์) (โปรตอน 2)
  • 12,200 กิโลกรัม (26,900 ปอนด์) (โปรตอน 3)
  • 17,000 กิโลกรัม (37,000 ปอนด์) (โปรตอน 4)
COSPAR ID
  • 1965-054A (โปรตอน 1)
  • 1965-087A (โปรตอน 2)
  • 1966-060A (โปรตอน 3)
  • 1968-103A (โปรตอน 4)
คาบการโคจร ≈92 นาที (1–4)
ประเภทภารกิจ ดาราศาสตร์
ผู้ดำเนินการ สหภาพโซเวียต
ความเยื้อง .030 (1–3), .017 (4)
วันที่ส่งขึ้น
  • โปรตอน 1: 16 กรกฎาคม 2508 (2508-07-16) 17:16 UTC+6
  • โปรตอน 2: 2 พฤศจิกายน 2508 (2508-11-02) 18:28 UTC+6
  • โปรตอน 3: 6 กรกฎาคม 2509 (2509-07-06) 18:57 UTC+6
  • โปรตอน 4: 16 พฤศจิกายน 2511 (2511-11-16) 17:40 UTC+6
จรวดนำส่ง УР-500 (1–3), Протон-К (4)
การกำจัด De-orbited
ระบบอ้างอิง พ้องคาบโลก
ระยะไกลสุด
  • โปรตอน 1: 589 กิโลเมตร (366 ไมล์)[1]
  • โปรตอน 2: 608 กิโลเมตร (378 ไมล์)[2]
  • โปรตอน 3: 585 กิโลเมตร (364 ไมล์)[3]
  • โปรตอน 4: 477 กิโลเมตร (296 ไมล์)
[4]
ฐานส่ง ไบโคนูร์คอสโมโดรม ฐานส่ง 81/23 (1–3), ไบโคนูร์คอสโมโดรม ฐานส่ง 81/24 (4)
เข้าสู่ชั้นบรรยากาศ
  • โปรตอน 1: 11 ตุลาคม 2508
  • โปรตอน 2: 6 กุมภาพันธ์ 2509
  • โปรตอน 3: 6 กันยายน 2509
  • โปรตอน 4: 24 กรกฎาคม 2512

แหล่งที่มา

WikiPedia: โปรตอน (โครงการดาวเทียม) http://www.astronautix.com/u/ur-500.html http://archive.aviationweek.com/issue/19651108#!&p... http://articles.adsabs.harvard.edu/pdf/1970ICRC...... http://web.archive.org/web/20120209194748/http://w... http://planet4589.org/space/log/launchlog.txt //www.worldcat.org/oclc/1001823253 //www.worldcat.org/oclc/17249881 //www.worldcat.org/oclc/775599532 http://www.npomash.ru/society/en/about.htm https://nssdc.gsfc.nasa.gov/nmc/spacecraft/display...